ณ พื้นที่ริมชายฝั่งทางตะวันออกไกลจากกรุงเทพนั้นเป็นที่ตั้งสำคัญของเขตอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดของประเทศนี้ เพราะที่นี้ประกอบด้วยแหล่งโรงงานญี่ปุ่นนับร้อยๆ โรงงานที่มาเปิดกิจการกัน ณ ที่แห่งนี้ร่วมกัน ซึ่งหลักๆ ก็คืออุตสาหกรรมรถและชิ้นยนต์ต่างๆ ที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นฐานสำคัญในการผลิตหลักในประเทศเอเซียตะวันออกนี้
ในฐานะครบรอบความสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างทั้งสองประเทศครบรอบ 130 ปีเมื่อวันอังคารที่มา ทางรัฐบาลไทยเชื้อเชิญเหล่าบรรดานักลงทุนชาวญี่ปุ่นมาทราบถึงแผนร่วมลงทุนที่จะเปลื่ยนให้พื้นที่เขตอุตสาหกรรมเขตที่ว่านี้พัฒนาขึ้นใหม่เป็นเขตศูนย์กลางไฮเทคของภูมิภาคนี้ด้วยกัน
ในระหว่างต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมานี้ ทางรัฐบาลไทยได้เชื้อเชิญรัฐมนตรีกระทรวงเศษรฐกิจ อุตสาหกรรมและการส่งออกของญี่ปุ่น ท่านฮิโรชิเกะ เซโก(Hiroshige Seko) พร้อมด้วยคณะตัวแทนทั้งภาครัฐและเอกชน จำนวนกว่า 570 คน มาดูงานดังกล่าวที่ประเทศไทยจัดขึ้นเป็นเจ้าภาพนี้เป็นเวลาสามวันเพื่อโปรโมตโอกาศการลงทุนใหม่ๆ ณ ประเทศแห่งนี้
ซึ่งประเทศไทยได้รับหน้าที่เป็นตัวแทนของเหล่าชาติสมาชิกในอาเซียนในเรื่องการเป็นตัวแทนการเจรจาต่อรองธุรกิจต่างๆ ที่ตอนนี้ดูเหมือนประเทศในแถบนี้จะได้รับผลกระทบจากการเติมโตของลงทุนต่างๆ ของประเทศจีนที่เริ่มมีบทบาทมากยิ่งขึ้น ซึ่งเหล่าผู้แทนคณะชาวญี่ปุ่นก็ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากทางเจ้าภาพงานนี้
ด้วยกันนั้นเหล่าตัวแทนคณะชาวญี่ปุ่นเหล่านี้ ได้มีโอกาศพบนายกรัฐมนตรีของไทย พลเอกประยุทธ์ จันโอชา ณ ทำเนียบรัฐบาล โดยทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีของไทยได้เชื้อเชิญเหล่าผู้แทนได้ทราบถึงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยใหม่อย่าง “ไทยแลนด์ 4.0” ที่จะตรอกย้ำให้ต่างชาติได้เห็นศักยภาพของการเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศนี้ได้อย่างแข็งแรง มั่นคง ชัดเจน และเชื้อมั่นได้มากขึ้น
โดยจุดมุ่งหมายของการเปลื่ยนแปลงนี้คือ การเปลื่ยนแปลงพื้นฐานการผลิตภาคเกษตรกรรมของไทย ให้เน้นเปลื่ยนเป็นการผลิตให้เป็นด้านอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงให้มากยิ่งขึ้น
โดยการเปลื่ยนแปลงที่ว่านี้ทางรัฐบาลไทยเตรียมความพร้อมกับแผนดั่งกล่าวด้วยการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษแห่งใหม่ขึ้นมาเพื่อรองรับการลงทุนครั้งนี้ ซึ่งได้แก่ พื้นที่ทางสามจังหวัดที่มีเนื้อที่เขตติดชายฝั่งทะเลของประเทศ อันได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และ จังหวัดระยอง
ซึ่งการลงทุนให้เขตพวกนี้เป็นเขตเทคโนโลยีใหม่ นี้จะต้องใช่เวลาในขั้นตอนตามแผนแรกเป็นเวลาทั้งหมดสิบปีด้วยกัน ซึ่งจะประกอบไปด้วยการพัฒนาเหล่าเทคโนโลนีที่เป็ร “อุตสาหกรรมหลักที่ตั้งเป้าไว้ก่อน” ได้แก่ ภาคชีวะเคมี ภาคทางการแพทย์ และภาคการท่องเที่ยวด้วยเช่นกัน ร่วมด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีชนิดใหม่อย่าง อุตสาหกรรมรถยนตร์ไฟฟ้าและชิ้นส่วนอะไหล่ด้วยเช่นกัน โดยทางรัฐบาลไทยเสนอการลงภาษีภาคอุตสาหกรรมให้มากถึง 15 ปี ด้วยกันถ้าการลงทุนนั้นส่งผลดีกับประเทศ
สำหรับทางรัฐบาลไทยนั้นคิดว่าต้องใช้งบมากถึง 1.5 พันล้านบาทด้วยกัน (5 พันล้านเยน) สำหรับภาครัฐและเอกชนเอง ในการพัฒนาหรือต่อเติมพื้นที่เขตอุตสหกรรมและโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ ให้พื้นที่ที่ทำสัญญา เพื่อให้ทันแผนดังกล่าวในช่วงระยะเวลาแผนห้าปีแรกของการลงทุน เช่น การต่อขยายสนามบินอู่ตะเภา ที่แต่เดิมนั้นเป็นสนามบินกึ่งพลเรือนและทหาร ให้กลายเป็นสนามบินขนาดใหญ่ลำดับสามของประเทศที่สามารถรองรับผู้โดยสารได้ถึงปีละ 60 ล้านคนก่อนปี 2032 ซึ่งตอนนี้ดูเหมือนว่าจะสามารถรองรับได้เพียงแค่ 3 ล้านคนต่อปีเท่านั้น
โดยทางรัฐบาลเองได้เน้นแผนการลงทุนกับทางญี่ปุ่นในเรื่องของ “การเป็นอุตสาหกรรมที่เชื่อมต่อกันถึงกัน” นั้นเป็นแนวคิดหลัก โดยการตั้งเป้าอัพเกรดภาคธุรกิจต่างๆ ที่มีในประเทศให้เกิดความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้นด้วยการเชื่อมเข้าเป็นเครือข่ายเดียวกัน ซึ่งท่ายนายยกยังได้กล่าวทึ้งท้ายอีกว่า ถ้าบริษัทไทยและญี่ปุ่นร่วมมือกันแบบนี้นั้นจะทำให้พวกเรานั้นเป็นหนึ่งเขตอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูงในเอเซียเลยทีเดียว
ซึ่งทางการไทยเองก็คาดหวังให้เป็นแบบนั้นเช่นกัน ดั่งที่จะเห็นจากตัวอย่างได้ในเหล่าสมาชิกคณะกรรมธิการหอการค้าไทย-ญี่ปุ่น เองนั้นซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นชาวญีุ่่นมากถึง 1748 คน นับจากเดือนเมษายนที่ผ่าน ซึ่งนี่เองทำให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นชาติหลักที่สำคัญในการลงทุนต่างๆ ในประเทศแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
อีกทั้งความเข้มแข็งอิทธิพลของเหล่าชาติอาเซียนที่นับวันเริ่มมีบทบาทมากขึ้น ทำให้ญี่ปุ่นเล็งเห็นว่านี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่เราควรจะเพิ่มการลงทุนในประเทศพวกนี้ให้มากยิ่งขึ้น
เหมือนกับที่ทางจีนและไทยได้เริ่มมีการเจรจาตกลงก่อสร้างเส้นทางรถไฟความเร็วสูงระหว่างกรุงเทพและนครศรีธรรมราชในเดือนตุลาคมนี้ ตามนโยบายที่ว่า “One Belt, One Road” ของทางจีน และเช่นเดียวกันที่ญี่ปุ่นและไทยนั้นก็ได้ตกลงเช่นกันในปี 2016 ในเรื่องของการสร้างทางรถไฟชินกันเซนเชื่อมต่อระหว่างกรุงเทพและเชียงใหม่เป็นระยะทางกว่า 700 กิโลเมตรที่จะเริ่มก่อสร้างในช่วงต้นปี 2018 นี้อีกด้วย
“ครั้งหนึ่งไทยเราเคยมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งจากรากฐานโรงงานผลิตรถยนตร์ของญี่ปุ่นทั้งหลาย แต่ตอนนี้โลกกำลังเปลื่ยนไปเนื่องจากเศรษฐกิจที่พัฒนาและแบรนด์ที่เข็มแข็งมากยิ่งขึ้นของประเทศจีน และ เกาหลีใต้” ผอ. กรมการส่งออกเอเซียตะวันออกของไทยได้กล่าวเอาไว้
“ยกตัวอย่างง่ายๆ เลย เช่น โทรศัพท์มือถือทุกวันที่เราใช้กันนี้ เราได้ยินแต่แบนด์ดังๆ อย่าง Oppo, Huawei ที่ล้วนมาจากจีนกัน และยังมี Sumsung จากเกาหลีใต้อีก แต่ไหนเรายังไม่เคยได้ยินยี่ห้อจากทางประเทศญี่ปุ่นบ้างเลย” เขาพูดเสริมอีก
ด้วยเหตุนี้ดูเหมือนว่าจะทำให้ทางญี่ปุ่นเองเสียทิศทางในการลงทุนกับไทยในรอบหลายๆ ปีที่ผ่านมาเชียว
โดยปีก่อนนั้นทางญี่ปุ่นเองก็เหมือนได้มีการลงทุนในประเทศเราเป็นจำนวนเงินถึง 79.6 หมื่นล้านบาทด้วยกัน ตามที่ องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น(Japan External Trade Organization.)ได้บอกเอาไว้ แต่ถ้าคิดจากงบเมื่อปี 2012 เองนั่นก็ดูเหมือนกับว่าหายไปเหลือเพียงแค่ 23 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น จากที่เคยลงทุนไว้ในประเทศนี้มากถึง 348.4 พันล้านบาท เมื่อปีดังกล่าวนั้น
โดยทางญี่ปุ่นเองก็คิดว่าอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการลงการลงทุนลงเป็นเพราะการที่ประเทศไทยนั้นกำลังติดอยู่กับการเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลางขึ้น ที่มาจากการที่คนส่วนมากของประเทศนั้น มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวที่มากยิ่งขึ้น ซึ่งสวนทางกับการลงทุนที่น้อยลงทางเศรษฐกิจของต่างชาติ ที่ยังคงต้องการหาแรงงานในราคาที่ต่ำอยู่ รวมทั้งที่ประชาชนในประเทศนี้เองกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งสวนทางกับการเติบโตของประชากรเช่นเดียวกัน
นอกจากนั้นยังเป็นเพราะคู่แข็งของประเทศไทยในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เอง อย่าง ประเทศเวียตนาม ที่ดูเหมือนตอนนี่จะมีค่าแรงที่ถูกกว่าประเทศไทยไปซะแล้ว ซึ่งถ้าคิดจากตัวเลขทางเศรษฐกิจในประเทศนั่น เวียตนามเองนั้นเติบโตถึง 6.21 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งต่างจากไทยอยู่ที่ 3.2 เปอร์เซ็นต์ ในปี 2016 ตัวเลขดังกล่าวจากกระทรวงต่างประเทศ
ทางการรัฐบาลไทยเองก็หวังว่าแผนการลงทุนที่ว่านี้จะทำให้เกิดการกระตุ้นทางเศรษฐกิจให้กับประเทศมากยิ่งขึ้น
โดยในงานวันที่สองทั้งสองชาติได้ลงนามในข้อตกลงร่วมกันเป็นจำนวนถึงเจ็ดฉบับที่ว่าด้วยเรื่องของการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งจะเริ่มต้นในเดือนมิถุนายนปีหน้าตามสัญญา
ซึ่งในงานแถลงข่าว คุณเซโกะและรองนายกรัฐมนตรี ท่านสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ผู้ซึ่งเป็นคนสำคัญในการวางทิศทางเศรษฐกิจของประเทศแถลงว่าด้วยบริษัทที่จะเข้าไปลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษใหม่นี้ทั้งสองฝ่ายจะได้ผลประโยชน์อย่างแน่นอน
“สำหรับประเทศไทยนับเป็นเป็นประเทศที่สำคัญยิ่งเหล่าในอาเซียนด้วยกัน เนื่องจากการเชื่อมต่อทางธุรกิจของลุ่มแม่น้ำโขงในอนาคตที่จะเป็นปัจจัยสำคัญของเศษรฐกิจ” ทั้งนี้คุณเซโกะ ยังได้กล่าวต่ออีกว่า “ทั้งนี่เรายังมีบริษัทญี่ปุ่นอีกมากมายที่กำลังจะตามมาในอนาคต ซึ่งล้วนแต่เป็นตัวช่วยสำคัญในด้านเศรษฐกิจของประเทศให้มีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นไทย เหมือนเช่นที่เคยเกิดขึ้นในกับประเทศนี้เมื่อก่อน”
ด้วยคำตอบเหล่านี้ทำให้ ท่านสมคิด กล่าวตอบอีกว่า เราสองประเทศนั้นว่าเป็นโอกาสอันดีที่จะร่วมกันช่วยสร้างบุคลากรและธุรกิจในเขตอุตสาหกรรมนี้ ซึ่งมีขั้นตอนอย่างใดนั้น เราสองประเทศคงต้องหารือเพิ่มเติมกันในอีกอนาคตอันใกล้แน่นอน
อีกทั้งท่านยังกล่าวต่ออีกว่า “ทางไทยเห็นว่าไม่ใช่่แค่เรื่องเฉพาะทางการค้า การลงทุน หรือ การท่องเที่ยว เท่านั้น สำหรับการฑูตญี่ปุ่น เรามองเห็นญี่ปุ่นนี้มีความสัมพันธ์ที่อยู่ในระดับรากลึก และ ยังถือว่าเป็นประเทศพันธมิตรอันเหนี่ยวแน่นสำหรับประเทศไทยเราเองมาอย่างเนินนาน ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศเกิดมาแล้วถึง 120 ปีด้วยกันและยังสามารถย้อนกลับไปไกลมากถึง 600 ปีย้อนหลังได้อีกด้วย”
“และช่วงเวลานี่เองเป็นเวลาการตัดสินใจครั้งสำคัญสำหรับประเทศไทยเอง ซึ่งไม่มีเหตุผลใดๆ เลยที่ประเทศญีุ่่นเองก็ห้ามพลาดโอกาศอันดีที่จะเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งดีๆ แบบนี้เช่นเดียวกัน ” คณสมคิดกล่าวทึ้งท้ายเอาไว้
ต่อจากนั้น คุณ โตชิย่า มัตซูโอะ(Toshiya Matsuo) ประทานบริษัท Transcosmos (Thailand) จำกัด ได้กล่าวเสริมอีกว่า “ประเทศไทยนับว่าเป็นประเทศหลักที่สำคัญในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้นี้แบบไม่ต้องสงสัยใดๆ ทั้งสิ้น และด้วยการส่งเสริมจากเราในภูมิภาคนี้ย่อมจะช่วยให้ธุรกิจของเราเกิดการโตโตได้ดีในภูมิภาคนี้อย่างแน่นอน”
ซึ่งทางบริษัทของเราเองนั้นเป็นบริษัทที่เกี่ยวกับการบริการอินเตอร์เนตที่เริ่มมาลงทุนในประเทศนี้ตั้งแต่ปี 2008. โดยปีนี้เองทางบริษัทเราก็จะเปิดตัวบริการ e-commerce ใหม่ๆ ในประเทศนี้และตามด้วยประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้ก่อนใคร เพราะเราเล็งเห็นว่าประเทศไทยนี้มีพื้นฐานด้านเศรษฐกิจที่เข้มแข็งมาก่อนอยู่แล้ว และยังเป็นประเทศที่มีความเสี่ยงในการลงทุนน้อยที่สุดในแถบนี้ด้วยเช่นกัน”
“และเรายังหวังด้วยว่าการบริการด้านออนไลน์และการลงทุนต่างๆ ของเราในอนาคตนั้นจะได้ตอบโจทย์กับที่ทางรัฐบาลไทยได้วางนโยบาย อย่างเช่น ประเทศไทย 4.0 ด้วยเช่นกัน”
และยังมีอีกท่านนึงที่จะกล่าวเกี่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ คือ คุณเอนเดะ ทากะ(Enrei Taka) ผู้ซึ่งเป็นทันตแพทย์จากเมืองฟุกุโอกะที่เริ่มทำธุรกิจบรษัท Yu-Ki Co. อันเป็นบริษัทอาหารปลอดแบททีเรีย ที่เล็งเห็นว่าประเทศไทยนี้เป็นหนึ่งในตัวเลือกที่ดีสำหรับธุรกิจของเธอ “ดูเหมือนว่าทางรัฐบาลไทยจะทำงานอย่างหนักที่จะโปรโมตแผนพัฒนาเศรษฐกิจอันนี้เป็นอย่างมาก ซึ่งฉันคิดว่าตอนนี้แหละคือโอกาสที่ดี”